วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ไวยากรณ์มินนะโนะ นิฮงโกะ บทที่ 4-7

 ไวยากรณ์บทที่ 4

   1. いま -ふんです
     การบอกเวลาทำได้โดยการวางลักษณะนามเกี่ยวกับเวลา คือ (โมง นาฬิกา) ふん (นาที)ไว้ข้างหลังตัวเลข จะอ่านเป็น ふん เมื่อมีตัวเลข 2,5,7,9 อยู่ข้างหน้า และจะอ่าน ぷん เมื่อตัวเลข 1,3,4,6,8,10 อยู่ข้างหน้า เมื่อตัวเลข 1,6,8,10 อยู่หน้าคำ ぷん จะอ่านดังนี้ いっろっ はっ じゅっ [じっ]

     การถามลักษณะนามที่มีตัวเลขอยู่ด้วย ให้ใส่คำว่า なん ข้างหน้าลักษณะนามนั้นและเมื่อเวลาใช้ なん-หรือ なん-ぷん

        (1) いま なん- ですか。                         ตอนนี้กี่โมง

                 ...7- 10 –ぷんです。                          ...7 โมง 10 นาที

     (หมายเหตุ) ในบทที่ 1 เรียนเรื่องเกี่ยวกับ แสดงการเป็นหัวข้อเรื่องของประโยค สำหรับ ข้อ2 ข้างล่างนี้ ใช้กับสถานที่แสดงการเป็นหัวข้อเรื่องของประโยค

        (2) ニュ-ヨ-クは  いま なんじ ですか。ที่นิวยอร์กขณะนี้กี่โมง

                  ...ごぜん4-じです。                        ...ตี 4

     2. คำกริยารูป ます

    1) คำกริยา ますทำหน้าที่เป็นภาคแสดง

    2) ます เป็นภาษาสุภาพที่ผู้พูดพูดกับผู้ฟัง

           (3) わたしは まいにち べんきょうします。 ผม/ดิฉันเรียนหนังสือทุกวัน

     3. คำกริยา ます / คำกริยา ません / คำกริยา ました/ คำกริยา ませんでした

    1) ます เป็นหางคำกริยาที่แสดงการกระทำที่เกิดขึ้นในอนาคต หรือ การกระทำที่ทำเป็นประจำ หรือ ข้อเท็จจริง กรณีเป็นรูปปฏิเสธ หรือ แสดงกาลเวลาในอดีตกาลหางคำจะเปลี่ยนไปดังนี้




( ปัจจุบัน , อนาคต )
อดีตกาล
บอกเล่า
( おき) ます
( おき )  ました
ปฏิเสธ
( おき ) ません
( おき )  ませんでした

 

 



       (4) まいあさ 6-じに おきます。          ทุกเช้าตื่นนอน 6 โมง

           (5) あした 6-じに おきます。            พรุ่งนี้จะตื่นนอน 6 โมง

           (6) けさ 6-じに おきました。          เมื่อเช้าตื่นนอน 6 โมง

    2) การทำประโยคที่คำกริยาเป็นภาคแสดงให้เป็นประโยคคำถาม ทำได้โดยเติม เข้าข้างหลังท้ายประโยคเช่นเดียวกับ          ประโยคที่คำนามเป็นภาคแสดง

      การตอบคำถามคือ พูดซ้ำคำกริยาที่มีในประโยคคำถาม จะไม่สามารถตอบด้วย そうですหรือ そう     じゃ ありません ได้

           (7) きのう べんきよう-しましたか。    เมื่อวานนี้เรียนหนังสือหรือปล่า

                ...はい べんきょう-しました。       ...เรียนครับ/ค่ะ

                ...いいえ べんきょうしませんでした。         ...เปล่า ไม่ได้เรียนครับ/ค่ะ

        (8)  まいあさ なん-じに おきますか。   ทุกเช้าตื่นนอนกี่โมง

                 ...6 –じに おきます。                    ...ตื่นนอน 6 โมง

       4. คำนาม (เวลา) คำกริยา

     การแสดงจุดเวลาของการกระทำที่เกิดขึ้นให้เติมคำช่วย ไว้ข้างหลังคำนามที่แสดงเวลา และรวมถึงประโยคที่การกระทำจบในเวลาชั่วครูด้วย

     ใช้กับประโยคคำนามเกี่ยวกับเวลาที่มีตัวเลขแสดง หากไม่มีตัวเลขแสดงจะไม่ใช้ แต่สำหรับวันจะใช้หรือไม่ใช้ก็ได้

            (9) 6 –じに おきます。                           ตื่นนอน 6 โมง

          (10) 7-がつ すつかに にほんへ きました。

            มาญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 2 เดือนกรกฎาคม

          (11) にちようび [] ならへ いきました。  จะไปนาระวันอาทิตย์

          (12) きのう べんきょうしました。                เรียนหนังสือเมื่อวาน

         5. คำนาม1 から คำนาม2  まで

    1)  から ใช้บอกจุดเริ่มต้นของเวลา และ สถานที่ まで ใช้บอกจุดจบของเวลา และ สถานที่

          (13) 9- から 5- まで はたらきまし。 ทำงานตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 5 โมงเย็น

          (14) おおさか から とうきょう まで 3 –じかん かかります。

            จากโอซาก้าถึงโตเกียวใช้เวลา 3 ชั่วโมง

     2) ไม่จำเป็นต้องใช้ から และ まで ด้วยกันเสมอไป

       (15) 9- から はたらきます。                         ทำงานตั้งแต่ 9 โมงเช้า

      3) เลือกใช้ です หลังคำ ~ から~までหรือ  ~ から ~まで แบบใดก็ได้เพื่อจบประโยค

           (16) ぎんこうは  9-じから  3-じまでです。  ธนาคารเปิดตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 3 โมงเย็น

           (17) ひるやすみは   12-じからです。        พักกลางวันตั้งแต่เวลา 12 โมง (เที่ยง)

       6. คำนาม1 คำนาม2

       ประโยคที่มีคำนามเรียงตามกัน จะใช้ เชื่อมระหว่างคำนามนั้น ๆ

           (18) ぎんこう の  やすみは -ようび と にちようびです。

                   ธนาคารหยุดวันเสาร์กับวันอาทิตย์

      7. ประโยค

     ใช้ ต่อท้ายประโยค แสดงความรู้สึกต่อเรื่องของผู้พูดว่า มีความรู้สึกเป็นอย่างเดียวกัน หรือหวังที่จะได้รับการยืนยัน หรือยินยอมจากผู้พูด สำหรับความหมายหลังนี้ จะทำหน้าที่ยืนยันในเรื่องที่พูด

          (19) まいにち 10-じごろ まで べんきょうします。

            ...たいへんですね。

            ฉันเรียนหนังสือถึงประมาณสี่ทุ่มทุกวัน

                  ...เหนื่อยแย่เลยนะ

           (20) やまださんの でんわばんごうは  871 6813 です

             ...871 6813 ですね。

             หมายเลขโทรศัพท์ของคุณยามาดะคือ 871-6813

                    ...871-6813 ใช่ไหมครับ/คะ


 ไวยากรณ์บทที่ 5

  1. คำนาม (สถานที่) いきます / きます / かえります
    เมื่อจะใช้คำกริยาแสดงอาการเคลื่อนย้ายสถานที่ จะใช้คำช่วย e กับทิศทางที่เคลื่อนย้าย

          (1) きゅうと へ いきます。        ผม/ดิฉันจะไปโตเกียว

          (2) にほん へ きました。                          ผม/ดิฉันมาญี่ปุ่น

          (3) うちへ かえります。 ผม/ดิฉันจะกลับบ้าน

         2. どこ []もいきません / いきませんでした

    เมื่อต้องการให้คำปุจฉาสรรพนามเป็นรูปปฏิเสธ ทำได้โดยการเติมคำช่วย mo ที่ข้างหลังเพื่อแสดงการปฏิเสธทั้งหมด การใช้เหมือนกับรูปปฏิเสธทั่วไป

          (4) どこ [] いきません。                   ไม่ได้ไปไหนเลย

          (5) にほんも たべません。                       ไม่ทานอะไรเลย

          (6) だれも いません。.                              ไม่มีใครอยู่เลย

       3. คำนาม (ยานพาหนะ) で いきます/ きます / かえります

          คำช่วย แสดงความหมายถึง วิธี วิธีการ หากวางไว้ข้างหลังคำนามที่เป็นยานพาหนะ แล้วต่อด้วยคำกริยาที่มีการเคลื่อนที่ ( いきます / きます / かえります ฯลฯ ) จะแสดงวิธีการในการเคลื่อนที่ว่าเคลื่อนที่ไปโดยอะไร

       (7) でんしゃで いきます。                         ไปโดยรถไฟฟ้า

           (8) タクシ-で きました。                     มาโดยรถแท็กซี่

    กรณีที่การเคลื่อนที่ทำโดยการเดิน จะไม่ใช้คำช่วย แต่จะใช้คำว่า あるいて แทน  

           (9) えきから あるいて かえりました。           เดินกลับมาจากสถานี

       4. คำนาม (บุคคล/สัตว์) คำกริยา

         เมื่อมีการกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยกันกับบุคคล (สัตว์) ให้ใช้คำช่วย

           (10) かぞく と にほんへ きました。         มาญี่ปุ่นกับครอบครัว

    หากการกระทำนั้นกระทำเพียงคนเดียว จะใช้คำ ひとりでและในกรณีนี้จะไม่ใช้คำช่วย

           (11) ひとりで とうきょう へ いきます。จะไปโตเกียวคนเดียว

        5. いつ

      ในการถามเรื่องเวลา นอกเหนือจากการใช้คำแสดงคำถาม なん เช่น なん-なん-ようびなん-がつなん-にち แล้ว ยังใช้คำว่า いつ (เมื่อไร) ด้วย และไม่ต้องใส่คำช่วย ตามหลัง いつ 

            (12) いつ にほん へ きましたか。               มาญี่ปุ่นเมื่อไร

                   ...3-がつ 25-にちに きました。         ...มาเมื่อวันที่ 25 มีนาคม

            (13) いつ ひろしま へ いきますか。จะไปฮิโรชิมาเมื่อไร

                   ... 来週 生きます。                      ...จะไปอาทิตย์หน้า

        6. ประโยค

   เป็นคำช่วยใช้จบประโยคแสดงอารมณ์ของผู้พูด หรือ บอกกล่าวเรื่องราวให้ฝ่ายตรงข้ามผู้ไม่รู้อะไรได้รับทราบ และยังใช้เมื่อต้องการจะเน้นความรู้สึก ความเห็นของตนเองต่อผู้ฟัง

            (14) この でんしゃは こうしえん へ いきますか。

             ...いいえいきません。 つぎ の ふつう ですよ。

             รถไฟขบวนนี้ไปโคชิเอ็นหรือเปล่า

                    ...ไม่ไป ต้องรถไฟธรรมดาเที่ยวต่อไปแน่ะ

             (15) むりな ダイエットは からだに よくないですよ。

                    การลดความอ้วนหักโหมเกินไป ไม่ดีต่อสุภาพนะ
 ไวยากรณ์บทที่ 6

      1. คำนาม (สกรรม) กริยา
    กรรมตรงของสกรรมกริยาจะแสดงโดยการใช้คำช่วย

                (1) ジュース を のみます。                       ผม/ดิฉันดื่มน้ำผลไม้

  2. คำนาม を します

   คำที่แสดงกรรมของกริยา します จะเป็นคำนามที่มีความหมายกว้าง ๆ และคำดังกล่าวจะเป็นตัวบอกเนื้อหาที่แท้จริงของกริยา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

      1) เล่น กีฬา, เกม ฯลฯ

          サッカ-を します。                               เล่นฟุตบอล

          トランプ  を します。                            เล่นไพ่

      2) จัด ชุมนุมกัน, พบกัน, จัดงาน ฯลฯ

          パーテイ を します。                                 จัดงานปาร์ตี้

          かいぎ を します。                                         ประชุม

       3) ทำ ~

       しゅくだい を します。                         ทำการบ้าน

           しごと を します。                            ทำงาน

  3. なに を しますか

    เป็นประโยคคำถามใช้ถามว่าจะทำอย่างไร

                (2) げつ-ようび なに 何 を しますか。      คุณจะทำอะไรในวันเสาร์

                 ...きょうと へ いきます。                           ...จะไปโตเกียว

            (3) きのう なに しましたか。                คุณทำอะไรเมื่อวาน

                 ... サッカ-  を しました。                   ... เล่นฟุตบอล

    ( หมายเหตุ ) สามารถใช้ wa ได้กับ วัน คำพูดแสดงกาลเวลา เพื่อแสดงการเป็นหัวข้อเรื่อง

                (4) げつ-ようびは なに を しますか。  วันจันทร์คุณจะทำอะไร

            ...きょうと へ いきます。          ...จะไปโตเกียว

  4. なん และ なに

    なん และ なに มีความหมายเหมือนกัน แปลว่า อะไร

    1) ใช้ なん ได้ในกรณีดังต่อไปนี้

          -  กรณีที่พยัญชนะตัวแรกของคำที่ตามมาข้างหลัง เป็นพยัญชนะวรรค , , ,

                (5) それは なんですか。                     นั่นคืออะไร

                (6) なんの ほん ですか。                       หนังสือเกี่ยวกับอะไร

           - กรณีวางหน้าลักษณะนามแสดงความหมายกี่ ~, ~ เท่าไร      

                (8) テレサ-ちゃんは なんさい ですか。    หนูเทเรซ่าอายุเท่าไร

       2) นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว ให้ใช้ なに

          (9) なに を かいますか。                           จะซื้ออะไร

  5. คำนาม (สถานที่) คำกริยา

    คำช่วย วางไว้หลังคำนาม (สถานที่) แสดงสถานที่ที่เกิดการกระทำ

                (10) えきで しんぶん を かいます。              ซื้อหนังสือพิมพ์ที่สถานี (รถไฟ)

  6. คำกริยา ませんか

   แสดงการชักชวนให้คู่สนทนากระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดร่วมกัน

                (11) いっしょに きょうと へ いきませんか。       ไปเกียวโตด้วยกันไหม

                   ...ええいい ですね。                                    ...ครับ/ค่ะ ดีจัง

  7. คำกริยา ましょう

   การแสดงข้อเสนอ หรือ การชักชวนแบบแสดงเจตจำนงของผู้พูดต่อผู้ฟัง และหรือใช้เป็นคำตอบอย่างจงใจต่อข้อเสนอ หรือคำชักชวน

                (12) ちょっと やすみましょう。           หยุดพักกันสักครู่เถอะ

                (13) いっしょに ひるごはん を たべませんか。  ทานข้าวกลางวันด้วยกันไหม

                   ... ええたべましょう。                                           ...ครับ/ค่ะ ทานด้วยกันสิ

    ( หมายเหตุ ) คำกริยา ませんかกับ คำกริยา ましょう ทั้งสองคำนี้แสดงความหมายถึงการชักชวนแต่คำกริยา ませんかจะเป็นประโยคในลักษณะถามเจตจำนงของผู้ฟังมากกว่า ましょう

      8. ~

   เป็นคำเติมหน้า แสดงให้เห็นว่าผู้พูดพูดให้เกียรติผู้ฟัง และบุคคลที่สาม

         ( ตัวอย่าง : [] くに ประเทศ )

     นอกจากนี้ o ยังใช้เติมข้างหน้าคำอื่น ๆ ได้อีกมากมาย แสดงถึงการพูดที่สุภาพ

         ( ตัวอย่าง : [] さけ  เหล้า     : [] はなみ   การชะมดอกซากุระ )

      และไม่จำเป็นว่าจะต้องใช้กรณีพูดสุภาพ หรือด้วยความเคารพเท่านั้น แต่ปกติธรรมดาคำบางคำก็มี o อยู่ด้วย

         ( ตัวอย่าง : おちゃ   (น้ำ) ชา     おかね      เงิน )

ไวยากรณ์บทที่ 7
1. คำนาม (เครื่องมือ เครื่องใช้สอย/วิธีการ) คำกริยา  
     คำช่วย แสดงให้ทราบถึง วิธีการ และ วิธีในการ...

                (1) はしで たべます。                        ทานด้วยตะเกียบ

                (2) にほんごで レポ-ト を かきます。   เขียนรายงานเป็นภาษาญี่ปุ่น

    2. คำ / ประโยค ~ご で なんですか

    ประโยคคำถามนี้ ใช้ถามเมื่อต้องการอยากทราบว่า คำ ประโยค ในภาษาอื่นเรียกว่า ( หมายความว่า ) อะไร

                (3) ありがとう えいごで なんですか。 

            ...“Thank you” です。

            คำว่า“Arigato” เรียกว่าอะไรในภาษาอังกฤษ

            ... “Thank you”

          (4)“Thank you”  にほんごで なんですか。

              ... “Arigato” です。

               คำว่า “Thank you” เรียกว่าอะไรในภาษาญี่ปุ่น

                   ... “Arigato”

        3. คำนาม (บุคคล) に あげますฯลฯ

    คำกริยา あげますかしますおしえます จะใช้คำช่วย กับผู้ซึ่งเป็นผู้รับ ผู้ยืม และผู้รับการสอนที่เป็นบุคคล

                (5) やまださん を あげました。

             คุณยามาดะให้ดอกไม้แก่คุณคิมุระ

                (6) イイ-さんに ほん を かしました。

               ผม/ดิฉัน ให้คุณอียืมหนังสือ

                (7) たろうくんに えいご を おしえます。

               ผม/ดิฉัน สอนภาษาอักฤษให้ทาโร่

( หมายเหตุ ) คำ おくります และคำ でんわ を かけますทั้งสองคำนี้ผู้รับอาจไม่ได้เป็นบุคคลแต่เป็นคำนามที่เป็นสถานที่ก็ได้ กรณีนี้นอกจากคำช่วย แล้ว ยังใช้ ก็ได้   

                (8) かいしゃに でんわ を かけます。

                       []

            โทรศัพท์ไปบริษัท

         4. คำนาม (บุคคล) もらいます ฯลฯ

       คำกริยา もらいます, かりますならいます เป็นคำแสดงการกระทำของฝ่ายผู้รับ เช่น ได้รับ, ขอยืม,เรียน จะใช้คำช่วย กับฝ่ายผู้ให้

                (9) きむらさんは やまださんに はな を もらいました。

            คุณคิมุระได้รับดอกไม้จากคุณยามาดะ

          (10) かりなさんに CD を かりました。            ยืม CD จากคุณคะรินะ

          (11) ワンさんに ちゅうごくご を ならいます。

            เรียนภาษาจีนจากคุณวัน

   จากรูปประโยคข้างบนนี้ สามารถใช้ から แทน ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากฝ่ายผู้ให้ไม่ได้เป็นบุคคลแต่เป็น บริษัท โรงเรียน หรือองค์กร จะไม่ใช้ แต่จะใช้ から

       (12) きむらさんは やまださんから はな を もらいました。

              คุณคิมุระได้รับดอกไม้จากคุณยามาดะ

           (13) ぎんこうから おかね を かりました。

                      ผม/ดิฉัน กู้เงินจากธนาคาร

         5. もう คำกริยา ました

   もうมีความหมายว่า ...แล้ว ใช้ควบคู่กับ คำกริยา ました ในกรณีนี้ คำกริยา ました จะมีความหมายแสดงว่า การกระทำหรือเรื่องราวในปัจจุบันได้เสร็จสิ้นลงไปแล้ว

        การตอบคำถามประโยค もう คำกริยา ましたか ตอบรับ ใช้     はい もう คำกริยา ました

ตอบปฏิเสธใช้ いいえまだです

         (14) もう にもつ を おくりましたか。ส่งของแล้วหรือยัง

                   ...はい[もう] おくりました。                    ครับ/ค่ะ ส่งแล้ว

                 ...いいえまだです。                                               ยังครับ/ค่ะ

       กรณีที่ตอบปฏิเสธรูปประโยคนี้ ไม่สามารถใช้รูป คำกริยา ませんでした ได้ เพราะรูป คำกริยา ませんでした หมายถึงการไม่ได้ทำสิ่งนั้นในอดีตกาล มิได้หมายถึงยังไม่ได้ทำสิ่งนั้นจนถึงขณะนี้